【關於AA制,來看泰國人聊感情❤️】

閱讀時間約 10 分鐘
今天想分享的文章是《ตอนเป็นแฟนหารครึ่ง ตอนแต่งงานยังหารครึ่งกันต่อมั้ย》

 意思是《當情侶的時候平分花費,結婚了還要繼續平分嗎?》


在交往階段,因為兩個人還是各自獨立,金錢花費自然較容易溝通與處理。而進入婚姻關係後,金錢開支變得複雜,無法再像過去一樣細分,日常開銷、生活用品、水電費,甚至有了小孩之後的養育費、教育費等等,便成為一個嚴肅的議題,究竟還能否延續交往時的方式處理呢?



💎【原PO】:

คบกับแฟนมา 6 ปีค่ะตั้งแต่มหาลัยจนทำงาน ปกติเรากับแฟนหารครึ่งกันทุกอย่าง เช่นเวลาไปทานข้าวหรือไปเที่ยว ซึ่งเราโอเคเพราะมองว่าตอนนั้นยังเด็กเราต่างขอเงินพ่อแม่อยู่ควรหารกัน พอมาถึงวัยทำงานก็ยังหารกันต่อซึ่งก็เหมือนความเคยชินไปแล้ว

我和另一半交往六年了,從大學時期到出社會工作。平常我跟另一半會平分每筆花費,像是吃飯或旅遊,我們都OK,因為唸書時還是孩子,各自都還在向父母拿錢,就應該要平分;到出社會工作後,也還是繼續平分,像習慣了一樣。

󠀠

แต่ตอนนี้วัยที่เริ่มคิดเรื่องแต่งงานเราก็ถามเขาเกี่ยวกับค่างานแต่งว่าจะทำอย่างไร เขาตอบกลับมาว่าออกกันคนละครึ่ง หลังแต่งงานเอาเงินเดือนแบ่งเงินมาใส่กองกลางไว้ใช้จ่ายและเผื่อมีลูกเป็นค่าเทอมและทุกอย่าง

但現在,到了要開始思考結婚的年齡,我問他關於婚禮的費用要怎麼處理,他回答我說「一人一半。結婚後,各自把薪水放進共用錢包,用來支付開銷,如果有孩子就用作學費和每筆支出。」

󠀠

จู่ๆเราก็เกิดคำถามกับตัวเองว่า เราควรไปต่อหรือไม่ดีการที่หารกันทุกอย่างแม้แต่ตอนที่เป็นสามีภรรยาทำให้เรารู้สึกเหมือนเพื่อนกันมากกว่าความรู้สึกว่าเป็นครอบครัว เราอยากได้สามีที่มีความเป็นผู้นำมากกว่านี้แต่มันก็ผูกพันธ์กันแล้วจากการที่อยู่ด้วยกันมาแทบไม่ทะเลาะกันเลย

突然間,我自己就有了個疑問,應該要繼續這樣?或者不要再平分每筆花費?即使成為夫妻,但讓我覺得比起家人更像朋友。我希望有個更具領導力的丈夫,但我們關係很親密,因為從交往以來幾乎沒有吵過架。

󠀠

ปล. ปกติแฟนจะเลี้ยงข้าวในวันเกิดและทั้งบ้านเราและบ้านแฟนฐานะปานกลางค่อนดี ญาติๆเราปกติฝ่ายชายออกค่าแต่งกันกันนะคะ

PS. 平常生日時另一半會請客,然後我和另一半的家庭經濟狀況都中等,還不錯,而我的親戚們,通常會由男方來支付婚禮費用。

󠀠

อยากถามว่า เราเห็นแก่ตัวมั้ยที่เพิ่งมาคิดถึงอนาคตตอนนี้ที่อยากได้สามีที่ให้ความรู้สึกดูแลเราได้ เรากลัวว่าแต่งแล้วจะหย่าเพราะเหมือนคนเป็นเพื่อนกันมาแชร์บ้านกันอยู่มากกว่า แล้วถ้าเป็นคนอื่นจะตัดสินใจยังไงกันหรือมีประสบการณ์ยังไงกันบ้างคะ

想問,我自私嗎?畢竟才剛開始思考到未來。現在我希望有個丈夫是能讓我感受到被照顧的感覺,我怕結婚後,會因為這段關係其實更像朋友分租房子而離婚。如果是其他人,會怎麼做決定呢?或是有什麼樣的經驗嗎?



🎯【最佳留言 B2】:

ผู้ชายคนนั้นเขาพร้อมมึคู่ชีวิตไหม เขาอยากได้ภรรยาคู่ชีวิต หรืออยากได้รูมเมทคะ

那男生準備好要有配偶了嗎?他是想要妻子、配偶,還是想要室友?

󠀠

หารครึ่งมันใช้ได้แค่บางส่วนนะ บางส่วนก็ไม่ได้ เราเห็นพ่อแม่เราที่เลี้ยงเรากับพี่มาดีมากๆ ท่านใช้วิธีเจือจุนกันนะคะ ลูกอยากกินขนม ลูกอยู่กับพ่อ ก็พ่อจ่าย อยู่กับแม่ ก็แม่จ่าย เราไม่รู้ท่านแบ่งสัดส่วนค่ากินอยู่ น้ำไฟ ค่าเทอมเรากับพี่ยังไง แต่เราไม่เคยเห็นท่านมีปัญหาเรื่องเงินกัน และบ้านเราก็ไม่เคยมีปัญหาเรื่องเงินด้วย

平分花費只適用在某些部分,而某些部分就無法。我看我父母把我和哥哥/姐姐扶養得很好,他們互相分攤金錢,孩子想吃點心時,如果跟爸爸待在一起,就由爸爸付錢,跟媽媽待在一起,就由媽媽付錢。我不知道父母如何分攤生活費、水電費、我跟哥哥/姐姐的學費,但我不曾看到他們有金錢上的問題,且我們家也不曾有金錢上的問題。

󠀠

ถ้าเขาไม่พร้อมมีคู่ชีวิต แนะนำให้เขาไปหารูมเมทแชร์ห้องกัน รับหมามาเลี้ยงสักตัวแล้วหารค่าอาหาร ค่าหมอกันคนละครึ่งก็พอ อย่ามีเลยลูกเมียน่ะ

如果他還沒準備好有配偶,那建議他去找室友分租房間,養一隻狗然後平分飼料費、醫藥費就好,別有小孩、老婆啊。



🎯【最佳留言 B4】:

เราก็หารครึ่งกับแฟน ตั้งแต่สมัยเรียนมหาลัยด้วยกัน จนทำงานจนแต่งงานเลยนะ ก็ทำแบบที่แฟนคุณเสนอน่ะแหล่ะ คือมีเงินกองกลาง อะไรที่ใช้จ่ายร่วมกัน ก็เอาเงินกองกลางออก เงินกองกลางเราก็เป็นคนบริหาร แต่เวลาจะใช้อะไรเราก็จะบอกแฟนก่อน เงินกองกลางตอนนั้นลงคนละ 3000 ทุกเดือน เอาไว้จ่ายค่าของใช้ประจำวัน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าดาวน์คอนโด ส่วนค่าผ่อนคอนโด ค่าเที่ยว คือจับหารครึ่งหมด

我也跟另一半平分花費,從大學時期到出社會工作,再到結婚,就像你另一半提議的那樣。我們有共用錢包,有共同花費時就從共用錢包拿;我是管理共用錢包的人,但要使用時我也會先告訴另一半。我們每人每月放3000元到共用錢包裡,用來支付日常花費、水費、電費、公寓頭期款,至於公寓的房貸、旅遊費用,則都一人一半。

󠀠

ส่วนเรื่องความเป็นผู้นำ ไม่เกี่ยวกับเรื่องการหารครึ่ง ความเป็นผู้นำดูได้จากเวลาเจอปัญหา แล้วเขาสามารกแก้ปัญหาเชิงรุกได้โดยที่คุณไม่ต้องเป็นคนคิดต่างหาก ส่วนเรื่องเงินมันคือการบริหารจัดการเงิน ถ้าหากบริหารเงินเป็นทั้งคู่ การแยกกัน และมีกองกลางไว้จะทำให้เกิดอิสระในการใช้จ่ายเงินของทั้งสองฝ่ายมากกว่า

至於領導力的事,跟平分花費無關,領導力可以從遇到問題時來看,他有能力主動解決問題,而你不用是想辦法的人。至於錢的事,涉及到如何管理、規劃財務,如果雙方一起管理金錢,財務各自分開然後有共用錢包,會讓雙方在金錢花費上更獨立自由。

󠀠

ปล. แฟนเรานี่แหล่ะ ตัวผู้นำขั้นเทพเลย แล้วเราก็หารครึ่งตั้งแต่สมัยคบกันตอนมหาลัย จนแต่งงานจนเราลาออกมาเป็นฟรีแลนซ์ ตอนอายุ 39 เราก็ยังจะขอเขาหารครึ่งเลย แล้วเขาก็บอก "เมิงจะบ้าเหรอ ไม่ต้องซีเรียสขนาดนั้นก็ได้ป่ะ" คู่เราถึงเพิ่งยกเลิกกองกลาง แต่ค่าใช้จ่ายส่วนตัวเราก็ยังออกเองอยู่เหมือนเดิม

PS. 我另一半是神一般的領導者,我們從大學交往時期到結婚,到我離職變成自由工作者,我們都平分花費;現在我39歲,我還是要求平分花費,然後他就說「你瘋了嗎,不用那麼認真吧。」我們雖然剛取消共用錢包,但我的個人花費還是像以往一樣自己負擔。

󠀠

ปล2. เราออกค่างานแต่งเองนะ ทั้งสินสอดไรคือเก็บเงินด้วยกัน บ้านเราสินสอดคือคืนหมด พ่อบอกบ้านมีอันจะกินแล้ว จะเอาเงินคนอื่นมาไม ส่วนงานแต่ง แฟนเราใช้บัตรเครดิตรูดไปก่อน 2 แสน แล้วเอาซองจากแขกนี่แหล่ะมาจ่ายทีหลังค่ะ

PPS. 我自己支付婚禮的費用,聘金是一起存的,但我家的聘金全都退回,爸爸說家裡很有錢了,為什麼要拿別人的錢。至於婚禮,我另一半先用信用卡刷了20萬,然後再用結婚禮金來繳。

󠀠

ปล3. เรื่องพวกนี้อยู่ที่คุณตกลงกัน ถ้าคุณหารครึ่ีงแล้วไม่สบายใจ ก็ควรคุยกับแฟนให้เรียบร้อยก่อนแต่งค่ะ

PPPS. 這些事取決於你是否願意,如果你們平分花費,而你覺得不開心,那就應該在結婚前先跟另一半談好。



本篇取自Pantip:https://pantip.com/topic/42654979


主要翻譯泰國人氣論壇Pantip上的文章, 偶爾分享一些喜歡的泰星動態, 希望對泰國充滿興趣的人, 都能在這裡更深入了解泰國。
留言0
查看全部
avatar-img
發表第一個留言支持創作者!
《被老闆提醒我有體味的事情,讓我失去了自信》談到職場氣味,許多人都曾有過類似的困擾,你是否也有共鳴呢?
《該怎麼做才好?媽媽強迫我出錢讓哥哥辦婚禮》當母親的要求成為沉重的負擔,這時究竟該答應還是拒絕呢?
《他是對我有意思,還是沒朋友可以一起去吃buffet?》這篇文章並非簡單的感情問題而已,故事走向出乎意料的有趣XD
泰國的宋干節(วันสงกรานต์ ; Songkran),也就是俗稱的潑水節,是泰國人的傳統新年, 很多到曼谷求學、工作的泰國人,都會趁這個假期返鄉與家人團聚。 如果《不喜歡宋干節期間的家族團聚日》該怎麼辦呢?
《想跟男朋友分手,但男朋友的母親剛過世》 這時候到底該以自己的感受為優先,還是以考慮對方的心情為優先呢?
《被老闆提醒我有體味的事情,讓我失去了自信》談到職場氣味,許多人都曾有過類似的困擾,你是否也有共鳴呢?
《該怎麼做才好?媽媽強迫我出錢讓哥哥辦婚禮》當母親的要求成為沉重的負擔,這時究竟該答應還是拒絕呢?
《他是對我有意思,還是沒朋友可以一起去吃buffet?》這篇文章並非簡單的感情問題而已,故事走向出乎意料的有趣XD
泰國的宋干節(วันสงกรานต์ ; Songkran),也就是俗稱的潑水節,是泰國人的傳統新年, 很多到曼谷求學、工作的泰國人,都會趁這個假期返鄉與家人團聚。 如果《不喜歡宋干節期間的家族團聚日》該怎麼辦呢?
《想跟男朋友分手,但男朋友的母親剛過世》 這時候到底該以自己的感受為優先,還是以考慮對方的心情為優先呢?
你可能也想看
Google News 追蹤
Thumbnail
徵的就是你 🫵 超ㄅㄧㄤˋ 獎品搭配超瞎趴的四大主題,等你踹共啦!還有機會獲得經典的「偉士牌樂高」喔!馬上來參加本次的活動吧!
Thumbnail
隨著理財資訊的普及,越來越多台灣人不再將資產侷限於台股,而是將視野拓展到國際市場。特別是美國市場,其豐富的理財選擇,讓不少人開始思考將資金配置於海外市場的可能性。 然而,要參與美國市場並不只是盲目跟隨標的這麼簡單,而是需要策略和方式,尤其對新手而言,除了選股以外還會遇到語言、開戶流程、Ap
Thumbnail
常在新聞或網路文章上看到,離婚時夫妻財產要對半分的說法,這是真的嗎?所有財產都要分嗎?
結婚真的可以節稅嗎?節稅多少?夫妻合併申報實際上要怎麼報?
Thumbnail
最近在Threads看到AA制又被炒起來,到底男方要不要為女方買單? 我認為AA制根本不是重點,重點在於對方是否什麼都要跟你計較,每一次的算清楚都在提醒你:「我們是分離的個體」,不要在我身上投入太多感情。 感情是用來談的,而人是互相的,當你感受到對方跟你計較,你也會陷入「計較」的循環
Thumbnail
很些人會覺得結婚後兩個人什麼事也應該平等分擔,如平均分擔家事雜務。兩人也有工作的話,應該平均分擔家庭支出。只有一方工作的話,就覺得沒有工作的一方應該處理家中所有大少事和負責起居三餐和照顧小孩。所有事情就像是等價交換,你出了八十分的力,伴侶也最好要同樣出八十分
Thumbnail
錢,只不過是錢,有錢不會保證帶來幸福,但沒錢多數會活在不幸當中。大部份人在拍拖時很少會認真講到錢的問題,一天未結婚也不會覺得錢是一些很認真要討論的事情,覺得講錢傷感情。有沒有想像過一對熱戀的情侶,在結婚後兩人之間的話題很大可能只剩下小孩子和錢兩樣東西?或者你現在已經是這樣,希望不是。
Thumbnail
這篇文章探討了夫妻間金錢觀的差異對婚姻關係的影響,並提出了不同的應對方式和觀點,讓讀者得到了一些啟發。
Thumbnail
夫妻在買房時,應該注意財產制度,瞭解約定財產制和法定財產制的區別。夫妻財產應分為婚前和婚後財產,並瞭解法定財產制在離婚時的財產分配。此外,贈與物和慰撫金也會影響財產分配。
Thumbnail
在一起好多年,我逐漸發現他有好多啪啦啪啦…也發現我跟他的價值觀有差異…
Thumbnail
徵的就是你 🫵 超ㄅㄧㄤˋ 獎品搭配超瞎趴的四大主題,等你踹共啦!還有機會獲得經典的「偉士牌樂高」喔!馬上來參加本次的活動吧!
Thumbnail
隨著理財資訊的普及,越來越多台灣人不再將資產侷限於台股,而是將視野拓展到國際市場。特別是美國市場,其豐富的理財選擇,讓不少人開始思考將資金配置於海外市場的可能性。 然而,要參與美國市場並不只是盲目跟隨標的這麼簡單,而是需要策略和方式,尤其對新手而言,除了選股以外還會遇到語言、開戶流程、Ap
Thumbnail
常在新聞或網路文章上看到,離婚時夫妻財產要對半分的說法,這是真的嗎?所有財產都要分嗎?
結婚真的可以節稅嗎?節稅多少?夫妻合併申報實際上要怎麼報?
Thumbnail
最近在Threads看到AA制又被炒起來,到底男方要不要為女方買單? 我認為AA制根本不是重點,重點在於對方是否什麼都要跟你計較,每一次的算清楚都在提醒你:「我們是分離的個體」,不要在我身上投入太多感情。 感情是用來談的,而人是互相的,當你感受到對方跟你計較,你也會陷入「計較」的循環
Thumbnail
很些人會覺得結婚後兩個人什麼事也應該平等分擔,如平均分擔家事雜務。兩人也有工作的話,應該平均分擔家庭支出。只有一方工作的話,就覺得沒有工作的一方應該處理家中所有大少事和負責起居三餐和照顧小孩。所有事情就像是等價交換,你出了八十分的力,伴侶也最好要同樣出八十分
Thumbnail
錢,只不過是錢,有錢不會保證帶來幸福,但沒錢多數會活在不幸當中。大部份人在拍拖時很少會認真講到錢的問題,一天未結婚也不會覺得錢是一些很認真要討論的事情,覺得講錢傷感情。有沒有想像過一對熱戀的情侶,在結婚後兩人之間的話題很大可能只剩下小孩子和錢兩樣東西?或者你現在已經是這樣,希望不是。
Thumbnail
這篇文章探討了夫妻間金錢觀的差異對婚姻關係的影響,並提出了不同的應對方式和觀點,讓讀者得到了一些啟發。
Thumbnail
夫妻在買房時,應該注意財產制度,瞭解約定財產制和法定財產制的區別。夫妻財產應分為婚前和婚後財產,並瞭解法定財產制在離婚時的財產分配。此外,贈與物和慰撫金也會影響財產分配。
Thumbnail
在一起好多年,我逐漸發現他有好多啪啦啪啦…也發現我跟他的價值觀有差異…