嫉妒是身而為人再正常不過的情緒,誰從小到大沒嫉妒過別人呢?尤其是在社群媒體盛行的今日,許多人仗著匿名就肆無忌憚的發表言論,因此言語中時常夾帶著滿滿的惡意,而隱藏在這些惡意背後的,其中不少便是無處安放的嫉妒。
今天想分享一篇來自 Pantip 上的討論《#為什麼大多數人會時常感到嫉妒,或者不喜歡看到別人過得好、取得成功呢?》
嫉妒往往來自於將自己與他人做比較,這並沒有錯,但在面對嫉妒的情緒時,如果能察覺到自己內心真正渴望的事物或目標,並將它轉化為前進的動力,相信一定能讓情緒變得更加正向積極。💎【原PO】:
ออกตัวไว้ก่อนว่าผมไม่ได้เป้นคนดีอะไร แต่ชอบมองโลกในแง่บวก เพราะส่วนตัวเป็นคนที่ไม่ชอบสร้างปัญหา หรือหาเรื่องให้ตัวเองปวดหัวเท่าไหร่
先說明一下,我並不是什麼好人,但喜歡從正面的角度看待世界,因為我本身是個不喜歡製造問題或者找麻煩讓自己頭痛的人。
แต่สังเกตุสังคมส่วนใหญ่ จากกระทู้พันทิป จากข่าวที่อ่าน ทำไมคนส่วนมากถึงไม่ชอบเห็นผู้อื่นประสบความสำเร็จกันนะ? ยิ่งพวกคนดัง ๆ หรือแม่แต่คนรอบตัวของตัวเอง ยิ่งชอบอิจฉากัน ยิ่งถ้าเป็นข่าวคนดังที่เขาทำอะไรพลาดมา ไม่ว่าจะโดนหลอก หรือผิดนิดหน่อย ก็จะมีทัวร์ลง
但我注意到大部分的社會風氣,無論是從Pantip上、從我閱讀到的新聞上,為什麼大多數人會不喜歡看到別人成功呢?越是有名的人,或甚至是自己身邊的人,就越容易互相嫉妒。尤其是關於名人做錯了什麼的新聞,無論是被騙還是犯了一點錯,都會被網友出征。
บางคนเห็นคนรู้จัก เพื่อน หรือแม้แต่คนใกล้ตัวได้ดี ร่ำรวย ก็มักจะชอบตั้งคำถาม แถมยังเอาเปรียบคนเหล่านั้นด้วย เช่น ถ้ามีเพื่อนรวยแล้วไปทานข้าวด้วยกันคนประเภทนี้ก็จะชอบให้เพื่อนที่รวยเลี้ยงข้าว ถ้าเพื่อนไม่เลี้ยงก็จะแซะ
有些人看到認識的人、朋友或甚至身邊的人過得好、過得富裕,往往就喜歡質疑,還會占他們便宜。好比說,如果有個有錢的朋友,當一起去吃飯時,這種人就常讓有錢的朋友請客,如果朋友不請客,他們就會冷嘲熱諷。
หรือไม่ก็ชอบขุดประวัติ หรือเรื่องไม่ดีทั้งจริงและไม่จริงของคนที่ประสบความสำเร็จมากล่าวแบบเสียๆหายๆ แนวใส่ร้าย ทั้งที่ทำไมไม่รู้จักยินกับผู้อื่นให้มากกว่านี้กันนะ?
不然就是喜歡挖掘成功人士的過去或不好的事情,包括真實的和虛假的,並用誹謗的方式來負面談論。為什麼不懂得更為他人感到開心呢?
อย่างผมถ้ามีเพื่อนสนิท หรือคนใกล้ตัวที่เขาประสบความสำเร็จ หรือร่ำรวยขึ้นมาโดยเฉพาะเพื่อนที่โตมาด้วยกัน ผมจะยิ่งรู้สึกยินดีมากกว่าเพราะเห็นพัฒนาการของเพื่อน และเห็นว่าเราได้ใกล้ชิดกับคนเก่งที่เราจะได้เรียนรู้จากเขา
像我,如果有親密的朋友或身邊的人取得成功或越來越富裕,尤其是一起長大的朋友,我就會更加感到開心,因為看到了朋友的成長,並認為能夠接近這些優秀的人,從他們身上學習。
🏅【原PO精選留言 B83】:
ผมว่าจริงๆ แล้วเป็นเรื่องปกติสัตว์ที่เป็นสัตว์สังคมจะมีการจัดลำดับชั้น เพราะมันเกี่ยวข้องกับการอยู่รอดและการได้ส่งต่อพันธุกรรมของตัวเองต่อไป
我認為這其實是正常的事,社會性動物就會有階級制度,因為這關乎生存以及能夠將自己的基因傳遞下去。
เพราะการที่ตัวเองได้อยู่ในลำดับชั้นที่สูงในสังคมทำให้ตัวเองได้ทรัพยากรมากกว่า และมีโอกาสได้ส่งต่อพันธุกรรมได้มากกว่าคนอื่นในฝูง ดูอย่างสังคมลิงก็ได้ จ่าฝูงจะได้กินอาหารก่อน และมีสิทธิ์ผสมพันธุ์ก่อนตัวอื่น ถึงแม้คนจะซับซ้อนกว่านั้นและไม่ได้จำเป็นต้องมีสถานะสูงเพื่ออาหารและสิทธิ์ในการผสมพันธุ์แล้ว แต่ธรรมชาติก็ยังทำให้คนยังจัดลำดับชั้นระหว่างตัวเองกับคนอื่นโดยไม่รู้ตัว
因為當自己能夠處在社會中較高的階層時,可以讓自己獲得更多資源,並且比群體中的其他人更有機會傳遞基因。也可以觀察像猴子的社會,領導者才能先吃東西,並有權比其他隻先進行交配。儘管人類比牠們更複雜,且不需要為了食物和交配權而擁有崇高的社會地位,但自然界仍讓人們無意識地在自己與他人之間形成階級制度。
ความอิจฉาหรือความไม่พอใจเมื่อเห็นคนอื่นประสบความสำเร็จเป็นเรื่องธรรมชาติของมนุษย์ที่เกิดจากหลายปัจจัย เช่น
當看見他人成功時,感到嫉妒或不滿,是人類很自然的事,源自於許多因素,例如:
1. การเปรียบเทียบตัวเองกับผู้อื่น – คนเรามักนำตัวเองไปเปรียบเทียบกับผู้อื่นโดยไม่รู้ตัว ยิ่งถ้ารู้สึกว่าตัวเองพยายามมากแต่ยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าคนอื่น ก็อาจเกิดความอิจฉาหรือไม่พอใจได้
1. 比較自己與他人 – 我們時常不自覺地拿自己和他人做比較,尤其如果覺得自己非常努力了,卻仍然沒有他人成功時,就可能產生嫉妒或不滿。
2. ความรู้สึกไม่มั่นคง – คนที่ขาดความมั่นใจในตัวเองหรือไม่พอใจกับชีวิตของตัวเอง มักจะรู้สึกว่าความสำเร็จของคนอื่นเป็นการ "ข่ม" ตัวเอง ทำให้เกิดความรู้สึกไม่ดีแทนที่จะชื่นชม
2. 不安的感覺 – 對自己缺乏自信或對自己的人生不滿的人,常會覺得他人的成功是在「壓迫」自己,進而產生不好的感受,而不是欣賞他人。
3. ความคิดที่ว่าความสำเร็จเป็น "ทรัพยากรจำกัด" – บางคนมองว่าความสำเร็จเป็นเหมือนเค้กก้อนหนึ่ง ถ้าคนอื่นได้มากขึ้น หมายความว่าตัวเองจะได้น้อยลง ซึ่งจริง ๆ แล้วโลกนี้มีโอกาสมากมายสำหรับทุกคน
3. 成功是「有限資源」的想法 – 有些人認為成功就像一塊蛋糕,如果別人得到的更多,意味著自己就會得到的更少,但其實這個世界對每個人來說都有著很多機會。
4. ความรู้สึกว่าตัวเองเสียเปรียบ – ถ้าเห็นคนอื่นประสบความสำเร็จได้ง่ายกว่าหรือมีโอกาสที่ตัวเองไม่มี อาจทำให้รู้สึกว่าโลกไม่ยุติธรรมและเกิดความอิจฉา
4. 覺得自己處於劣勢的感覺 – 如果看到別人能比自己更容易成功,或擁有自己所沒有的機會,可能會讓他覺得世界不公平,並產生嫉妒。
5. สังคมและวัฒนธรรม – บางสังคมปลูกฝังการแข่งขันมากเกินไป จนทำให้ผู้คนไม่สามารถยินดีกับความสำเร็จของผู้อื่นได้ เพราะถูกสอนให้มองว่าต้องเอาชนะกัน
5. 社會與文化 – 有些社會過度灌輸競爭的觀念,以至於讓人們無法為他人的成功感到高興,因為被教導必須要贏過彼此。
6. ปมด้อยและอดีตที่ฝังใจ – บางคนอาจเคยล้มเหลวหรือถูกกดดันในอดีต ทำให้รู้สึกแย่เมื่อต้องเห็นคนอื่นทำได้ดีกว่า
6. 自卑和過去的陰影 – 有些人在過去可能曾經失敗或受到壓力,導致當看到他人表現得比較好時,會有不好的感受。
แต่ในทางกลับกัน คนที่มีความคิดเชิงบวกและมีความมั่นใจในตัวเอง มักจะสามารถยินดีกับความสำเร็จของผู้อื่นและใช้มันเป็นแรงบันดาลใจให้ตัวเองพัฒนาต่อไปมากกว่าที่จะอิจฉาหรือรู้สึกแย่
但相反的,擁有正面思維並對自己有信心的人,通常能為他人的成功感到高興,並將它視作一種激勵,讓自己繼續進步,而不是嫉妒或有不好的感受。
本篇取自Pantip:https://pantip.com/topic/43302494